สภาพและข้อมูลพื้นฐาน
๑. ด้านกายภาพ
18 มีนาคม 2562

0


๑.๑  ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล

ที่ตั้งของหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง    

ตำบลจะรัง  ประกอบด้วย

                    หมู่ที่  ๑  บ้านกะดี

                    หมู่ที่  ๒  บ้านปียาไม้สูง

                    หมู่ที่  3  บ้านตูเวาะ

                    หมู่ที่  4  บ้านสะแปนอง

                   หมู่ที่  ๕   บ้านมะปริง

                   หมู่ที่  ๖   บ้านนาหอม

                   หมู่ที่  ๗   บ้านจะรัง                 

                   

สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง

          (ปัจจุบันเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง  ณ  วันที่  ๑๔  กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๔๐)

                   ตั้งอยู่ที่   หมู่  ๖  บ้านนาหอม อำเภอยะหริ่ง  จังหวัดปัตตานี

                   -  โทรศัพท์  ๐73 – ๓3๐๘๑๕ 

-  โทรสาร   ๐73 – ๓30๑๕

๑.๒  ลักษณะภูมิประเทศ

                    ภูมิประเทศส่วนใหญ่ขององค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม ตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศ   เป็นพื้นที่สำหรับที่อยู่อาศัยประมาณ ๕๐%     เป็นพื้นที่สำหรับการเกษตร ๔๕ %   และมีพื้นที่ส่วนอื่น ๕%  มี 2 ฤดูกาล  (ฤดูร้อน  ฤดูฝน)  พื้นดิน ส่วนใหญ่เป็นดินร่วน

          ๑.๓  ลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื้น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู  ซึ่งมี  2  ฤดู  ดังนี้

ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแล้ง  แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น  บางครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตกก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส  ร้อนจัดมีอุณหภูมิประมาณ  ๔๐  องศาเซลเซียสขึ้นไป

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ตุลาคม  ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม  แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑–๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม  แต่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไม่เคยเกิดอุทกภัยรุนแรง   แต่บางครั้งจะมีวาตภัยในบางช่วงเวลาภายในปีนั้น

๑.๔ ลักษณะของดิน

                    ลักษณะดินโดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทราย  ประมาณ  ๗๕% ดินลูกรังประมาณ ๑๕ % ลักษณะดินในพื้นที่เป็นดินเหนียวประมาณ ๑๐ % 

 

 

 

 

 

๑.๕  ลักษณะของแหล่งน้ำ

                    มีแหล่งน้ำที่ใช้สำหรับ  อุปโภค-บริโภค  จำนวน  ๕  แห่ง   แหล่งน้ำทั้ง ๕ แห่งเคยเป็นแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและองค์การบริหารส่วนตำบลได้ดำเนินการปรับปรุงก่อสร้างขึ้นใหม่เพื่อเพียงพอกับการอุปโภคและบริโภคของประชาชน  ดังนี้

                   ลำห้วย           -         แห่ง     สระน้ำ           ๔        แห่ง

                   หนองน้ำ          -         แห่ง     บ่อน้ำตื้น         ๑๑๔    แห่ง

                   ลำคลอง           ๑        แห่ง     บ่อบาดาล        ๑๑      แห่ง

                   บึง                -         แห่ง     อ่างเก็บน้ำ        -         แห่ง

                   แม่น้ำ             -         แห่ง     ฝาย               -         แห่ง

                   อื่นๆ (ระบุ)       -         แห่ง     เหมือง            -         แห่ง

๑.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้

                   ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมีป่าไม้  และมีต้นไม้ที่ชาวบ้านปลูกลักษณะของไม้เป็นไม้ยืนต้น  ผลัดใบ 

 

๒. ด้านการเมือง/การปกครอง
18 มีนาคม 2562

0


           องค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดตั้งหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล  มีทั้งหมด  ๗  หมู่บ้าน  แต่ละหมู่บ้านมีกรรมการซึ่งเป็นตัวแทนของชุมชน  ๔ – ๕  คน  ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดซื้อจัดจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบล  ประชาชนให้ความร่วมมือด้านการเลือกตั้งเป็นอย่างดี  เช่น  การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ในปี พ.ศ. 255๖  ประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้ง จำนวน  ๒,๓๔๖   คน  จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น  ๒,๙๑๒  คน  คิดเป็นร้อยละ  ๘๐.๕๗  และในปี พ.ศ. 255๖  จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล 2,๓๓๔ คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น ๒,๙๐๗ คน  คิดเป็นร้อยละ  ๘๐.๒๙  ปัญหาคือการแข่งขันทางการเมืองค่อนข้างสูง มีจุดที่น่าสังเกตคือ มีการย้ายเข้าย้ายออกช่วงที่จะมีการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะเป็นการเลือกผู้ใหญ่บ้าน  สมาชิกสภา  นายกองค์การบริหารส่วนตำบล  โดยเฉพาะ การคัดเลือกผู้ใหญ่บ้าน  การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลคือ  ขอความร่วมมือ  ผู้นำ  เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่รับผิดชอบให้ระมัดระวัง สอดส่องพฤติกรรมและให้รายงานอำเภอทราบ  การรณรงค์  ประชาสัมพันธ์  ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง  เกี่ยวกับข้อกฎหมายของการเลือกตั้งที่กระทำได้และทำไม่ได้ให้ประชาชนได้รับทราบ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นองค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้พยายามแก้ไข  โดยเรื่องจากการประชุมประชาคมท้องถิ่นทุกชุมชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล  ในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล

           จากผลการประชุมทุกครั้งที่องค์การบริหารส่วนตำบลจัดขึ้น มีประชาชนสนใจเข้าร่วมประชุมรวมทั้งแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย  ส่งผลให้องค์การบริหารส่วนตำบลดำเนินงานตามความต้องการของประชาชน และประชาชนได้รับและมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล นอกจากนี้  องค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดโครงการอบรมศึกษา  ดูงาน  ของคณะผู้บริหาร  สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล  พนักงานองค์การบริหารส่วนตำบล  อสม. และกรรมการชุมชน  โครงการอื่นๆ สำหรับประชาชนอีกหลายโครงการ  เพื่อนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลให้เจริญเท่าเทียมกับองค์การบริหารส่วนตำบลอื่นๆ และองค์การบริหารส่วนตำบลมีโครงการจัดซื้อเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ  โครงการบางโครงการต้องระงับไว้เนื่องจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ  มีอัตรากำลังพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลจำกัด ไม่เพียงพอต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนในด้านบริการ  โดยองค์การบริหารส่วนตำบลแบ่งเขตการปกครอง  ดังนี้

๒.๑ เขตการปกครอง

เดิมแต่แรกเป็นสภาตำบล มีการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่าวนตำบล เมื่อวันที่  14  กุมภาพันธ์  254๐   มีพื้นที่ ๒๙.๕  ตารางกิโลเมตร  หรือจำนวน  ๑๘,๔๒๘.๕๐  ไร่  ระยะห่างจากตัวอำเภอยะหริ่งประมาณ  ๑๓  กิโลเมตร (จากที่ว่าการอำเภอยะหริ่ง – อบต.จะรัง)  ระยะห่างจากตัวจังหวัดปัตตานีประมาณ  ๒๙  กิโลเมตร (จากศาลากลางจังหวัดปัตตานี – อำเภอยะหริ่ง – อบต.จะรัง ) 

 

                   อาณาเขตขององค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง

                   ทิศเหนือ          จด      คลองยามูและหมู่ที่ ๔ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง

                    ทิศใต้             จด      คลองสาบัน ตำบลสาบันและตำบลท่าข้าม  อำเภอปะนาเระ                              ทิศตะวันออก        จด      ตำบลปะนาเระ  อำเภอปะนาเระ          

                    ทิศตะวันตก      จด      ตาบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง

องค์การบริหารส่วนตำบลแบ่งเขตการปกครองดังนี้ 

               จำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง    เต็มทั้งหมู่บ้าน    ๗   หมู่บ้าน  ได้แก่   

                   หมู่ที่  1          บ้านกะดี                  

                   หมู่ที่  2          บ้านปียาไม้สูง               

                   หมู่ที่  3          บ้านตูเวาะ                   

                   หมู่ที่  4          บ้านสะแปนอง 

                   หมู่ที่  ๕          บ้านมะปริง 

                   หมู่ที่  ๖          บ้านนาหอม

                   หมู่ที่  ๗          บ้านจะรัง

๒.๒ การเลือกตั้ง

                    องค์การบริหารส่วนตำบลได้แบ่งเขตการเลือกตั้งนายกและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล

  ทั้งเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเป็น ๑ เขตเลือกตั้ง  ๗ หน่วย   ดังนี้

เขตเลือกตั้ง  ประกอบด้วย  บ้านกะดี

               ประกอบด้วย  บ้านปียาไม้สูง

               ประกอบด้วย  บ้านตูเวาะ

               ประกอบด้วย  บ้านสะแปนอง และบ้านกาแลยง

               ประกอบด้วย  บ้านมะปริง

               ประกอบด้วย บ้านนาหอม

               ประกอบด้วย  บ้านจะรัง

ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง  ส่วนใหญ่ร่วมกิจกรรมทางการเมืองเสมอมาและประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยังมีส่วนร่วมในการบริหารงาน  การช่วยเหลืองานองค์การบริหารส่วนตำบล เสนอแนะในกิจกรรมขององค์การบริหารส่วนตำบลในการดำเนินงานต่างๆ เช่น การประชุมประชาคมในการจัดแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลประชุมประชาคมแก้ไขปัญหาความยากจน ฯลฯ 

จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ข้อมูลเมื่อวันที่  ๓0  กันยายน  พ.ศ. ๒๕๕๖) 

                   -  จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล                ๒,๙๑๒     คน

                   -  จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล         ๒,๙๐๗    คน

                   จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง  ครั้งล่าสุด (๒๐  ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖)

                   -  จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล  ๒,๓๓๔ คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น  ๒,๙๐๗  คน  คิดเป็นร้อยละ  ๘๐.๒๙

ปัจจุบันนายกองค์การบริหารส่วนตำบลและสมาชิกมาจากการเลือกตั้ง เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๖

 

๓. ประชากร
18 มีนาคม 2562

0


๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร

 
 

จำนวนหมู่บ้าน

๗  หมู่บ้าน (ใส่เฉพาะตัวเลขเท่านั้น !!!)


หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

หญิง

ชาย

1

กะดี

  ๑๙๘   ครัวเรือน

๔๐๖  คน

๔๔๑  คน

2

ปียาไม้สูง

  ๑๐๗  ครัวเรือน

๓๑๙ คน

๒๙๑  คน

3

ตูเวาะ

  1๒๖   ครัวเรือน

๒๘๐  คน

๒๙๙  คน

4

สะแปนอง/กาแลยง

  ๑๓๐   ครัวเรือน

๓๒๑  คน

๓๒๙  คน

มะปริง

  1๘๙   ครัวเรือน

4๘๙  คน

๔๓๘  คน

นาหอม

    ๙๖   ครัวเรือน

๓45  คน

๒๖๐  คน

จะรัง

   ๑๓๘  ครัวเรือน

๓๔๕  คน

๓๓๐  คน

 

 

๓.๒ ช่วงอายุและจำนวนประชากร

องค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

 

หญิง

ชาย

หมายเหตุ

จำนวนประชากรเยาวชน

  ๗๖๑ คน

    ๗๘๖   คน

อายุต่ำกว่า 18 ปี

จำนวนประชากร

 ๑,๒๔๖   คน

    ๒,๐๗๐   คน

อายุ 18-60 ปี

จำนวนประชากรผู้สูงอายุ

    ๓๑๓   คน

     ๑๙๓     คน

อายุมากกว่า 60 ปี

รวม

           คน

          คน

ทั้งสิ้น       คน

 

๔. สภาพทางสังคม
18 มีนาคม 2562

0


๔.๑ การศึกษา

      จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรอายุ ๑๕ – ๖๐ ปีเต็ม ร้อยละ 65  อ่าน  เขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้  เด็กอายุ  ๖ – ๑๔  ปี  ร้อยละ  9๐ ได้รับการศึกษาภาคบังคับ ๙  ปี  ได้เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔  หรือเทียบเท่า และที่ไม่ได้เรียนต่อมีงานทำ ร้อยละ  80  ด้านการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่ดี  ปัญหาคือ  ยังไม่สามารถที่จะแข่งขันกับเมืองใหญ่ๆ ได้  การแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบล  ได้จัดกิจกรรมให้กับเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  การสนับสนุนอาหารเสริมนม  อาหารกลางวัน ในกับทางโรงเรียนในเขตพื้นที่ และร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆ กับทางโรงเรียน  

 

 

                    การศึกษา   ข้อมูล  ณ  ปัจจุบัน 

สังกัด

สพฐ.

องค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง

๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง

           - จำนวนครูผู้ดูแลเด็ก

           - จำนวนผู้ดูแลเด็ก

           - จำนวนนักเรียน

๒. โรงเรียนสังกัด สพฐ. ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล

    ๒.๑  โรงเรียนบ้านมะปริง

          ระดับก่อนประถมศึกษา

          -  จำนวนครู 

          -  จำนวนห้องเรียน

          -  จำนวนนักเรียน 

  ๒.๒  โรงเรียนบ้านตูเวาะ

          ระดับก่อนประถมศึกษา

          -  จำนวนครู 

          -  จำนวนห้องเรียน

          -  จำนวนนักเรียน 

    2.3  โรงเรียนบ้านจะรัง

          ระดับก่อนประถมศึกษา

          -  จำนวนครู 

          -  จำนวนห้องเรียน

          -  จำนวนนักเรียน 

   

 

 

 

 

 

3  แห่ง

 

1  แห่ง

 

-

-

2๙๗  คน

1  แห่ง

-

-

-

๒๔๙  คน

1  แห่ง

-

-

-

๗7  คน

 

๑ แห่ง

 

๕  คน

๒  คน

       ๑๑๖  คน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๔.๒ สาธารณสุข

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพที่ดี  มีการคัดกรองสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง  โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน  ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน    โรคไข้เลือดออก  โรคระบบทางเดินอาหาร หรืออหารเป็นพิษ  โรคตาแดง  โรคคางทูม  โรคอีสุกอีใส และโรคอื่นๆ อีกมาก มีสถิติเข้ารับการรักษาพยาบาล  ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี  การแก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตำบลและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล  ได้จัดกิจกรรมร่วมมือกันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ซึ่งก็ได้ผลในระดับหนึ่ง  ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี  แต่ต้องเป็นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี  ตามเกณฑ์มาตรฐาน  จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ  การใช้ยาเพื่อบำบัดอาการเจ็บป่วยที่ไม่เหมาะสม  การออกกำลังกายยังไม่สม่ำเสมอ  และประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ  ปัญหาเหล่านี้องค์การบริหารส่วนตำบลพยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข  โดยร่วมมือกับโรงพยาบาล  สาธารณสุข   จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา 

 

                    (๑)  หน่วยงานด้านสาธารณสุข

                             -  โรงพยาบาลในเขตพื้นที่  สังกัดกระทรวงสาธารณสุข  จำนวน  -  แห่ง    

                                 เตียงคนไข้    จำนวน  -  เตียง

                             -  ศูนย์บริการสาธารณสุข   จำนวน   ๑      แห่ง

                             -  คลินิกเอกชน  จำนวน  -  แห่ง                                                

                   (๒)  สถานการณ์/ปัญหาสุขภาพ

 

ลำดับที่

โรค

ที่ต้องเฝ้าระวังทางด้านระบาดวิทยา

ผู้ป่วย (ราย)

ผู้เสียชีวิต (ราย)

1

โรคระบบทางเดินอาหาร  อาหารเป็นพิษ

-

-

โรคไข้เลือดออก

-

โรคปอดบวม

-

-

โรคตาแดง

-

-

โรคคางทูม

-

-

โรคสงสัยหูดับ

-

-

โรคหนองใน

-

-

โรคไข้ไม่ทราบสาเหตุ

-

-

๑๐

โรคมือเท้าปาก

-

-

๑๑

โรคอีสุกอีใส

-

-

 

๔.๓ อาชญากรรม

                    องค์การบริหารส่วนตำบลมีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น  เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน  และทำลายทรัพย์สินของราชการ  ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้ดำเนินการป้องกันการเกิดเหตุดังกล่าว จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี  มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหาคือจากข้อมูลที่สำรวจพบคือ  ไม่มีการป้องกันอุบัติเหตุ  อาชญากรรม  วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด  คือการติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดที่เป็นที่สาธารณะ  ติดตั้งสัญญาณไฟกระจกตามทางแยกร่วม  รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ  เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน    การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ  ผู้นำ  อปพร.  เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดเหตุ  แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้  ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางองค์การบริหารส่วนตำบลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้

            

๔.๔ ยาเสพติด

ปัญหายาเสพติดในชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบล    มีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า  เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ   ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์  การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้   ถ้านอกเหนือจาก

 

      อำนาจหน้าที่  ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด  ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง    ได้ดำเนินโครงการสำรวจข้อมูลพื้นฐานในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อนำผลการสำรวจมาพิจารณาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นให้แก่ชุมชน

          ๔.๕ การสังคมสังเคราะห์

                    องค์การบริหารส่วนตำบลได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์ ดังนี้

1. ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  และผู้ป่วยเอดส์ 

๒. รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด

๓. ประสานการทำบัตรผู้พิการ

๔. ตั้งโครงการการจ้างนักเรียน/นักศึกษาทำงานช่วงปิดภาคเรียน 

๕. ตั้งโครงการช่วยเหลือผู้ยากจน  ยากไร้  รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง            

๖. ตั้งโครงการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านคนจน 

๗. เยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียง

๘. จัดสร้างห้องสุขาให้กับผู้ป่วยติดเตียง

 

๕. ระบบบริการพื้นฐาน
18 มีนาคม 2562

0


       ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมีระบบบริการพื้นฐาน  ดังนี้

๕.1 การไฟฟ้า

การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์  ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด  เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ  องค์การบริหารส่วนตำบลจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ  ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่  และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร  ทั้งนี้  องค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน  ปัจจุบันในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมีไฟฟ้าใช้  ดังนี้

(๑)  จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า  ๙๙๖   หลังคาเรือน

                    (๒)  ไฟฟ้าสาธารณะ   จำนวน   ๔๐0  จุด   ครอบคลุมถนนทุกสายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล

๕.๒ การประปา

การประปา  องค์การบริหารส่วนตำบลมีกิจการประปาเป็นขององค์การบริหารส่วนตำบลเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน  คิดเป็น ๕๕.๓๑ เปอร์เซ็นต์  และมีน้ำใช้ตลอดทั้งปี  ปัญหาคือ ประปาเสียบ่อยในบางหมู่ สาเหตุจากท่อประปาแตก สืบเนื่องรถใหญ่เหยียบท่อประปา  ประปาขององค์การบริหารส่วนตำบลยังไม่สามารถที่จะผลิตเป็นน้ำประปาสำหรับบริโภคได้  ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการดำเนินการ  ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลยังไม่ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำสามารถที่จะจัดหาน้ำดิบสำหรับผลิตประปาให้ชุมชนได้ การแก้ปัญหาคือ การลงพื้นที่ดำเนินการแก้ไขตามจุดที่เกิดปัญหาในทันที  การพิจารณาโครงการต่างๆ  ที่ไม่สามารถดำเนินการได้นั้น  องค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้นำบรรจุในแผนพัฒนาสามปีเพื่อที่จะพิจารณาดำเนินการในปีต่อไป  เมื่อมีงบประมาณและความจำเป็นก็สามารถดำเนินโครงการได้ต่อเนื่อง  เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนต่อไป  ปัจจุบันประชาชนมีประปาใช้  ดังนี้

(๑)  จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา  ๕๕๒    หลังคาเรือน

(๒)  หน่วยงานเจ้าของกิจการประปา  ขององค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง  ๔  แห่ง

(๓)  ปริมาณการใช้น้ำประปาเฉลี่ย    ๕๐๐ – ๕๕๐   ลบ.ม.  ต่อวัน

(๔)  แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำประปาได้จาก

                             แม่น้ำชี  (       )         

สระน้ำหนองใหญ่   (    /   )  (แหล่งน้ำผิวดิน)

                             แหล่งน้ำใต้ดิน       (   /    ) 

๕.3 โทรศัพท์

(๑)  จำนวนโทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่            จำนวน     ๑     หมายเลข

(๒)  จำนวนโทรศัพท์ส่วนบุคคล                        จำนวน      -    หมายเลข

(๓)  จำนวนชุมสายโทรศัพท์จำนวน                   จำนวน      -     ชุมสาย

(๔)  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข                         จำนวน      -      แห่ง

(๕)  หอกระจายข่าวในพื้นที่ให้บริการได้ครอบคลุมร้อยละ  ๑๐๐  ของพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล

๕.4 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์

                   (๑)  มีพนักงานไปรษณีย์อนุญาตเอกชน จำนวน ๑ ราย  

                  

๕.5  เส้นทางคมนาคม

ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ  ๘๐ เป้าหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ ๑๐๐  โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กทุกสาย  ปัญหาคือ องค์การบริหารส่วนตำบลไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากพื้นที่ยังไม่เป็นที่สาธารณะ  จะดำเนินการได้ก็ต่อเมื่อต้องเป็นที่สาธารณะ  ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลมีเส้นทางคมนาคม  ดังนี้

(๑)  การคมนาคม  การจราจร

              เส้นทางคมนาคมที่ใช้ติดต่อในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลและพื้นที่ใกล้เคียงมีดังนี้

                              ๑.๑)  ถนนหลัก  

                                      -  ทางหลวงชนบท สายทุ่งคา – สำเภาเชย

                             ๑.๒)  สะพาน    จำนวน   ๑    สะพาน

                            

๑.3)  ถนน

               ถนนในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง   จำนวน    1     สาย 

                      สภาพถนนคอนกรีต   จำนวน       -     สาย  ระยะทาง    -  กม.

                      ราดยาง                  จำนวน    ๑    สาย  ระยะทาง  ๗   กม.

                                         ลูกรัง                     จำนวน      -    สาย  ระยะทาง   -  กม.

               ถนนในความรับผิดชอบของกรมโยธาธิการและผังเมือง  จำนวน      สาย

                      สภาพถนนคอนกรีต   จำนวน        -     สาย  ระยะทาง -  กม.

                      ราดยาง                จำนวน            สาย  ระยะทาง       กม.

                                         ลูกรัง                   จำนวน       -    สาย  ระยะทาง   -  กม.                                     ถนนในความรับผิดชอบของ  กรป. กลาง   จำนวน    -          สาย

                     สภาพถนนคอนกรีต   จำนวน     -        สาย  ระยะทาง  -  กม.

                      ราดยาง                จำนวน       -   สาย  ระยะทาง      -  กม.

                                         ลูกรัง                             จำนวน       -   สาย  ระยะทาง    -  กม.

 

              ถนนในความรับผิดชอบของทางหลวงท้องถิ่น   จำนวน   ๑   สาย

          สภาพถนนคอนกรีต        จำนวน             สาย  ระยะทาง             -      กม.

                      ราดยาง        จำนวน     ๑      สาย  ระยะทาง    -     กม.

                                         ลูกรัง            จำนวน                      สาย  ระยะทาง             -      กม.

 

    ถนนของท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง    จำนวน    ๗๒ สาย

          สภาพถนนคอนกรีต        จำนวน     ๔๙    สาย  ระยะทาง              -     กม.

                      ราดยาง        จำนวน       ๙    สาย  ระยะทาง    -     กม.

                                         ลูกรัง            จำนวน              ๑๒    สาย  ระยะทาง              -     กม.

                                        แอลฟัลท์ติกส์   จำนวน       ๒     สาย  ระยะทาง    –     กม

 

๖. ระบบเศรษฐกิจ
18 มีนาคม 2562

0


๖.๑ การเกษตร

ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ร้อยละ ๘๐ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่  ข้าว  ยางพารา   มะพร้าว  ปาล์มน้ำมัน  ดังนี้

-  อาชีพเกษตรกรรม      ร้อยละ       ๗๐ ของจำนวนประชากรทั้งหมด

-  อาชีพทำสวน            ร้อยละ       ๑๐ ของจำนวนประชากรทั้งหมด

-  อาชีพอื่น ๆ              ร้อยละ        ๓  ของจำนวนประชากรทั้งหมด     

-  อาชีพรับจ้าง            ร้อยละ       1๐ ของจำนวนประชากรทั้งหมด     

-  อาชีพค้าขาย            ร้อยละ        ๕  ของจำนวนประชากรทั้งหมด

-  อาชีพรับราชการ       ร้อยละ        ๒  ของจำนวนประชากรทั้งหมด

๖.๒ การประมง

                    มีการทำประมงน้ำจืดในบางหมู่ เช่น หมู่ ๑,๓,๕,๗ มีการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ และปลากะพง  

๖.๓ การปศุสัตว์

-  เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น  การเลี้ยงไก่  เป็ด  วัว นก ไ แพะ    กระบือ  จำนวนสัตว์ในพื้นที่โดยประมาณ  ดังนี้

แพะ     ๓๔๒    ตัว        กระบือ  ๑๒๕   ตัว     วัว  ๔๒๐   ตัว    ลิง    ๖๔  ตัว

เป็ด     ๘๑๕    ตัว         ไก่     ๕,๑๕๐   ตัว     นก ๔๐๕    ตัว  อื่นๆ ๒๘๗ ตัว

๖.๔ การบริการ

โรงแรม                     -         แห่ง

ร้านอาหาร                 -         แห่ง

โรงภาพยนตร์              -         แห่ง

 

         ๖.๕ การท่องเที่ยว

                    ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไม่มีแหล่งท่องเที่ยว  แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นใน

ชุมชน  เช่น  การจัดงานประเพณีต่างๆ  งานวัฒนธรรม   งานเคลื่อนที่และการจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับ

ใช้พักผ่อนหย่อนใจ 

๖.๖ อุตสาหกรรม

-  จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก)   จำนวน   ๕   แห่ง

                      (มีคนงานต่ำกว่า  ๑๐  คน  หรือมีทรัพย์สินถาวรที่เกิน  ๑  ล้านบาท)

 

๖.๗ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ

การพาณิชย์

บริษัท                      -         แห่ง     ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า        -         แห่ง

ห้างหุ้นส่วนจำกัด                    ๑        แห่ง     ตลาดสด                             ๑        แห่ง

ร้านค้าต่างๆ               -         แห่ง     โรงเรือน                                -       แห่ง

กลุ่มอาชีพ/กลุ่มสตรี

มีกลุ่มอาชีพ  จำนวน ๑  กลุ่ม

                             ๑. กลุ่มทำขนม  หมู่ที่ ๗  บ้านจะรัง                          

          ๖.๘ แรงงาน

                    จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ประชากรที่มีอายุ  ๑๕ – ๖๐  ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ  ๙๕  เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ  ๗๓.๙๙  ซึ่งสูงกว่ามาก  แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด  โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร  ประชากรอายุระหว่าง  ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่  รวมทั้งแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ  ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรม  บริษัท  ห้างร้านใหญ่ๆ  เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย  ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้

 

๗. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
18 มีนาคม 2562

0


๗.๒ ข้อมูลด้านการเกษตร

          (๑)  บ้านกะดี  หมู่ที่ 1 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๙๙๙.๕  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ในเขต     ชลประทาน

    ครัวเรือน

          ไร่

     กก./ไร่

       บาท/ไร่

   บาท/ไร่

þนอกเขตชลประทาน

   ๕๒ ครัวเรือน

   ๘๓๒   ไร่

  ๓๖๕  กก./ไร่

  ๑,๕๐๐    บาท/ไร่

๓,๖๕๐บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ปาล์ม               .

 ๒๗ ครัวเรือน 2๘๒ ไร่

2,๑๐๐  กก./ไร่

 ๒,๕๐๐ บาท/ไร่

 ๙,๔๕๐  บาท/ไร่

สวน ยาง   .

 4๖  ครัวเรือน

  ๔๐5  ไร่

1๔๘  กก./ไร่

 ๒,๐๐๐ บาท/ไร่

๒,๖๖๔   บาท/ไร่

สวน  มะพร้าว  .

  ๑๑ ครัวเรือน

  ๗๒  ไร่

 ๖๐๐  กก./ไร่

 ๑,๐๐๐   บาท/ไร่

  ๖,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

           ไร่

 

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

           บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

          กก./ไร่

               บาท/ไร่

              บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

 

 

(๒)  บ้านปียาไม้สูง  หมู่ที่ ๒ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๐๐๐  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ในเขต     ชลประทาน

    ครัวเรือน

          ไร่

     กก./ไร่

       บาท/ไร่

   บาท/ไร่

þนอกเขตชลประทาน

   ๔๑ ครัวเรือน

   ๖๗๔   ไร่

  ๓๘๐  กก./ไร่

  ๑,๕๐๐    บาท/ไร่

๓,๘๐๐บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ปาล์ม               .

 ๒๕ ครัวเรือน ๕๐ ไร่

2,๐๐๐  กก./ไร่

 ๒,๕๐๐ บาท/ไร่

 ๙,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน ยาง   .

 ๒๒  ครัวเรือน

 ๓๖๓  ไร่

๒๐๐  กก./ไร่

 ๒,๐๐๐ บาท/ไร่

๓,๖๐๐   บาท/ไร่

สวน  มะพร้าว  .

  ๖ ครัวเรือน

  ๑๖  ไร่

 ๖๐๐  กก./ไร่

 ๑,๐๐๐   บาท/ไร่

  ๖,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

           ไร่

 

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

           บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

          กก./ไร่

               บาท/ไร่

              บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

 

 

(๓)  บ้านตูเวาะ  หมู่ที่ ๓ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๑๗๘  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ในเขต     ชลประทาน

    ครัวเรือน

          ไร่

     กก./ไร่

       บาท/ไร่

   บาท/ไร่

þนอกเขตชลประทาน

   ๔๕ ครัวเรือน

   ๖๗๘   ไร่

  ๓๘๐  กก./ไร่

  ๑,๕๐๐    บาท/ไร่

๓,๘๐๐บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ปาล์ม               .

 ๑๗ ครัวเรือน ๑,๒๑๖ ไร่

2,๒๐๐  กก./ไร่

 ๒,๕๐๐ บาท/ไร่

 ๙,๔๕๐  บาท/ไร่

สวน ยาง   .

 ๑๒  ครัวเรือน

 ๑๐๘  ไร่

๑๖๐  กก./ไร่

 ๒,๐๐๐ บาท/ไร่

๑,๙๔๔   บาท/ไร่

สวน  มะพร้าว  .

  ๘ ครัวเรือน

  ๓๒  ไร่

 ๖๐๐  กก./ไร่

 ๑,๐๐๐   บาท/ไร่

  ๖,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

           ไร่

 

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

           บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

          กก./ไร่

               บาท/ไร่

              บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

 

(๔)  บ้านสะแปนอง  หมู่ที่ ๔ 

 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๓,๑๒๕  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ในเขต     ชลประทาน

    ครัวเรือน

          ไร่

     กก./ไร่

       บาท/ไร่

   บาท/ไร่

þนอกเขตชลประทาน

   ๔๕ ครัวเรือน

   ๖๗๘   ไร่

  ๓๘๐  กก./ไร่

  ๑,๕๐๐    บาท/ไร่

๓,๘๐๐บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ปาล์ม               .

 ๑๗ ครัวเรือน ๑,๒๑๖ ไร่

2,๒๐๐  กก./ไร่

 ๒,๕๐๐ บาท/ไร่

 ๙,๙๐๐  บาท/ไร่

สวน ยาง   .

 ๑๒  ครัวเรือน

 ๑๐๘  ไร่

๑๖๐  กก./ไร่

 ๒,๐๐๐ บาท/ไร่

๒,๘๘๐   บาท/ไร่

สวน  มะพร้าว  .

  ๘ ครัวเรือน

  ๓๒  ไร่

 ๖๐๐  กก./ไร่

 ๑,๐๐๐   บาท/ไร่

  ๖,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

           ไร่

 

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

           บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

          กก./ไร่

               บาท/ไร่

              บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

 

          (๕)  บ้านมะปริง หมู่ที่ ๕

 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๘๑๓  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ในเขต     ชลประทาน

    ครัวเรือน

          ไร่

     กก./ไร่

       บาท/ไร่

   บาท/ไร่

þนอกเขตชลประทาน

   ๗๐ ครัวเรือน

   ๑,๐๖๙   ไร่

  ๓๓๐  กก./ไร่

  ๑,๕๐๐    บาท/ไร่

๓,๓๐๐บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ปาล์ม               .

 ๓๖ ครัวเรือน ๒๒๔ ไร่

๑,๙๐๐  กก./ไร่

 ๒,๕๐๐ บาท/ไร่

 ๘,๕๕๐  บาท/ไร่

สวน ยาง   .

 ๓๐  ครัวเรือน

 ๒๙๓  ไร่

๑๙๐  กก./ไร่

 ๒,๐๐๐ บาท/ไร่

๓,๔๒๐   บาท/ไร่

สวน  มะพร้าว  .

  ๖ ครัวเรือน

  ๑๘  ไร่

 ๖๐๐  กก./ไร่

 ๑,๐๐๐   บาท/ไร่

  ๖,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

           ไร่

 

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

           บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

          กก./ไร่

               บาท/ไร่

              บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่


 

 

(๖)  บ้านนาหอม หมู่ที่ ๖

 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๑,๘๗๕  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ในเขต     ชลประทาน

    ครัวเรือน

          ไร่

     กก./ไร่

       บาท/ไร่

   บาท/ไร่

þนอกเขตชลประทาน

   ๔๕ ครัวเรือน

   ๕๖๗   ไร่

  ๓๘๐  กก./ไร่

  ๑,๕๐๐    บาท/ไร่

๓,๘๐๐บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ปาล์ม               .

 ๒๙ ครัวเรือน ๒๒๖ ไร่

๒,๐๐๐  กก./ไร่

 ๒,๕๐๐ บาท/ไร่

 ๙,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน ยาง   .

 ๑๘  ครัวเรือน

 ๑๐๒  ไร่

๑๘๐  กก./ไร่

 ๒,๐๐๐ บาท/ไร่

๓,๒๔๐   บาท/ไร่

สวน  มะพร้าว  .

  ๔ ครัวเรือน

  ๒๒  ไร่

 ๖๐๐  กก./ไร่

 ๑,๐๐๐   บาท/ไร่

  ๖,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

           ไร่

 

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

           บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

          กก./ไร่

               บาท/ไร่

              บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

 

(๖)  บ้านจะรัง หมู่ที่ ๗

 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๓,๔๓๘  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ในเขต     ชลประทาน

    ครัวเรือน

          ไร่

     กก./ไร่

       บาท/ไร่

   บาท/ไร่

þนอกเขตชลประทาน

   ๓๕ ครัวเรือน

   ๔๔๔   ไร่

  ๓๖๐  กก./ไร่

  ๑,๕๐๐    บาท/ไร่

๓,๖๐๐บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ปาล์ม               .

 ๑๕ ครัวเรือน ๗๙๕ ไร่

๒,๒๐๐  กก./ไร่

 ๒,๕๐๐ บาท/ไร่

 ๙,๙๐๐  บาท/ไร่

สวน ยาง   .

 ๔  ครัวเรือน

 ๓๘  ไร่

๑๗๐  กก./ไร่

 ๒,๐๐๐ บาท/ไร่

๓,๐๖๐   บาท/ไร่

สวน  มะพร้าว  .

  ๘ ครัวเรือน

  ๒๘  ไร่

 ๖๐๐  กก./ไร่

 ๑,๐๐๐   บาท/ไร่

  ๖,๐๐๐  บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

           ไร่

 

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

           บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

          กก./ไร่

               บาท/ไร่

              บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

 

 

๗.๓ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร

(๑)  บ้านกะดี หมู่ที่ ๑ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๙๙๕  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

þ 3. คลอง

 

ü

 

ü

๓๐

¨4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

þ 4. สระ

 

ü

 

ü

๔๐

¨ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

 

(๒)  บ้านปียาไม้สูง หมู่ที่  ๒ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๐๐๐  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้      

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

1

 

ü

 

ü

๓๐

þ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

                                                                                                                  

          (๓)  บ้านตูเวาะ  หมู่ที่ 3

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๑๗๘  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

þ 3. คลอง

1

 

ü

 

ü

๒0

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

þ 4. สระ

 

 

ü

 

ü

 

¨5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)       บ่อ       .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               


 

          (๔)  บ้านสะแปนอง  หมู่ที่ 4

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๘77   มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

þ 4. สระ

3

ü

 

ü

 

 

¨5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

                                                                                                                   

 

          (๕)  บ้านมะปริง  หมู่ที่ ๕

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๘๑๓  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

ü

 

ü

 

¨5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

 

          (๖)  บ้านนาหอม

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๑,๘๗๕  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

þ 4. สระ

1

ü

 

ü

 

80

¨5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)      บ่อ        .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               


 

(๖)  บ้านจะรัง

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๓,๔๓๘  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

þ 4. สระ

1

ü

 

ü

 

80

¨5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)      บ่อ        .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               

 

 

๗.๔ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)

(๑)  บ้านกะดี  หมู่ที่ ๑ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๙๙๙.๕  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

ü

 

ü

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 

 

 

 

(๒)  บ้านปียาไม้สูง  หมู่ที่  ๒ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๐๐๐  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้      

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

ü

 

 

 

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 


 

                    (๓)  บ้านตูเวาะ  หมู่ที่ 3

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๑๗๘  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

 

ü

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

ü

 

 

ü

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

 

ü

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 

 

 

                    (๔)  บ้านสะแปนอง  หมู่ที่  4

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๓,๑๒๕  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

ü

 

 

 

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 

 

 

                    (๕)  บ้านมะปริง  หมู่ที่ ๕

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๒,๘๑๓  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

ü

 

ü

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 

 

 

                    (๖)  บ้านนาหอม  หมู่ที่  ๖

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๑,๘๗๕  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

ü

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

ü

 

 

 

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 

 

 

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

ü

 

ü

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 

 

 

 

ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
18 มีนาคม 2562

0


ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม

                   ตำบลจะรัง ตั้งอยู่ในอำเภอยะหริ่ง   จังหวัดปัตตานี  เป็นดินแดนที่มีสัญลักษณ์อันโดดเด่นทางด้านภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่น มีปนระชากรนับถือศาสนาอิสลาม จำนวน ๑๐๐%  เอกลักษณ์ที่สำคัญในประชากรแถบนี้  คือ

  1. การแต่งกายสุภาพ ไม่เปิดเผยส่วนใดของร่างกายที่ยั่วยวนอารมณ์ทางเพศของทั้งชายและหญิง โดยส่วนใหญ่

ผู้ชายนิยมนุ่งโสร่งหรือกางเกงขายาว  สวมเสื้อแขนสั้นหรือแขนยาวและสวมหมวกกะปิเยาะ ส่วนผู้หญิงก็จะสวมเสื้อแขนยาวถึงข้อมือ และสวมผ้าคลุมศีรษะตามข้อบัญญัติทางศาสนา

 

  1. การถือศีลอด (ถือบวช) หรือในภาษายาวีเรียกว่า “ปอซอ” จะถือปฏิบัติในเดือน “รอมฎอน” หรือเดือนที่ ๙

ของปีฮิจเราะห์ศักราช     ชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลามทุกคนจะถือศีลอดเป็นเวลา  1 เดือนโดยจะงดเว้นสิ่งอบายมุขทั้งหลาย ทั้งกาย วาจา และใจ ตั้งแต่รุ่งอรุณจนกระทั่งดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า    ทั้งนี้เพื่อให้ชาวมุสลิมได้รู้สึกถึงภาวการณ์อดทนและอดกลั้น และให้รู้สึกถึงสภาพของผู้ที่ไม่มีอันจะกินเป็นต้น

 

  1. ประเพณีมาแกปูโละ  มาแกปูโละ เป็นภาษาถิ่น แปลว่า  “กินเหนียว”  หมายถึง การเลี้ยงวันแต่งงาน

 (วาลีมะห์) 

 

  1. ประเพณีมาแกแต  (กินน้ำชา)  หมายถึง การกินเลี้ยงในงานหาเงินสร้างมัสยิด  สร้างโรงเรียนหาเงินเพื่อ

ขอความช่วยเหลือต่าง ๆ อาหารที่เลี้ยงได้แก่ ข้าวยำ น้ำชา หรือปูโละซามา

 

  1. การเข้าสุนัต  เป็นหลักการของศาสนาอิสลาม  ที่ถือหลักความสะอาดคือ  การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะ

เพศชาย  ซึ่งส่วนใหญ่แล้วกระทำเมื่อเด็กอายุระหว่าง  6-12 ปี  ภาษาถิ่นเรียกว่า  “มาโซะยาวี”

 

  1. อารีรายอ ในรอบปีฮิจเราะห์ศักราช จะมีรายอ  2  ครั้ง  คือ
    1. รายออิดิลฟิตรี  คือวันเฉลิมฉลองในศาสนาอิสลาม (หลังการออกบวช) โดยจะมีกิจกรรมต่าง ๆ

เช่น  แต่งกายให้สะอาดเรียบร้อย  ร่วมกันละหมาดที่มัสยิด  เยี่ยมเยียนญาติพี่น้อง  เป็นต้น    โดยจะตรงกบวันที่ 1 เดือน 10   “เซาวัล”  เดือนที่  10  ของปีฮิจเราะห์ศักราช

  1. วันอิดิลอัฎฮา  คือ  วันเฉลิมในศาสนาอิสลามอีกครั้งหนึ่ง  โดยจะมีการเชือดสัตว์พลี  (กุรบาน)

และเลี้ยงอาหารให้แก่ผู้ยากจน   หรือญาติมิตร   หลังจากได้ทำพิธีละหมาดในตอนเช้าแล้ว        จะตรงกับวันที่ 10

“ซุลฮิจญะห์”  เดือนที่ 12  ของปีฮิจเราะห์ศักราช

 

  1. ขนบธรรมเนียมการเคารพ  ชาวมุสลิมเพื่อพบปะกันก็จะกล่าว “อัสสาลามูอาลัยกุม”  (ขอความสันติจงมี

แด่ท่าน) และมีการรับว่า “วาอาลัยกุมมุสสาลาม” (ขอความสันติสุขจงมี แด่ท่านเช่นกัน) และยื่นมือสัมผัสกัน (ซาลาม)

 

  1. งานเมาลิด  คือ  วันคล้ายวันประสูติของมท่านศาสดานบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.)  ตรงกับวันที่  3 เดือนรอบีอุล

เอาวัล)  ตามปฏิทินอาหรับ ชาวมุสลิมนิยมทำในเดือนนี้  และเดือนอื่นก็ทำได้ โดยไม่ถือว่าผิด

                                                                                          

ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน

  1. ซีละ  คือ  ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว  ที่มีลักษณะคล้ายมวยไทยและมีลักษณะคล้ายมวยปล้ำรวมกัน

(มีการเตะ ถีบ ต่อย และมีการปล้ำให้ล้มกันด้วย)

  1. ลิเกฮูลู ปรกติมักจะเล่นในหมู่บ้านเนื่องในงานเข้าสุนัต  มีความหมายตามพจนานุกรม   kamus  Dewan

ของ Dr.Tenku Iskanda  2  ประการ  คือ

  1.  หมายถึง  เพลงสวดของพระเจ้า ปกติเป็นการขับร้องเนื่องในเทศกาลกำเนิดท่านนบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.)

เรียกงานเมาลิด  เลยเรียกการสวดดังกล่าวนี้ว่  ดิเกร์เมาลิด  ซึ่งคำว่าดิเกร์  เป็นศัพท์เปอร์เซีย

  1.  กลอนเพลงโต้ตอบ  นิยมเล่นกันเป็นกลุ่มเป็นคณะ  เรียกว่า  ดิเกฮูลู
  1.  กรือโต๊ะ  เป็นชื่อกลอง  มีลักษณะคล้ายโอ่งทำจากไม้เนื้อแข็ง มีแผ่นไม้ประกอบใช้ไม้หุ้มยางนำมาตีกรือโต๊ะ
  2. หรือกลองหุ้ม จะใช้ตีในงานพิธีสำคัญ ๆ   ที่จัดขึ้นภายในหมู่บ้านหรือต้อนรับแขกเมืองที่เข้ามาเยี่ยมเยียนใน

พื้นที่  หรือตีแจ้งข่าวไปยังหมู่บ้านข้างเคียงเมื่อมีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น ปัจจุบันยังนำมาตีประชันแข่งขันระหว่างหมู่บ้าน

  1.  บานอร์  เป็นชื่อกลอง มีลักษณะแบน  ทำด้วยไม้หนา  กลม เจาะรูกว้างประมาณ  2 ฟุต  ขึงด้วยหนังสัตว์

เช่น โค กระบือ กลองนอร์  จะใช้ตีในงานพิธีต่าง ๆ เช่น พิธีเข้าสุนัต  พิธีแต่งงาน

  1.  รองเง็ง เป็นการละเล่นพื้นบ้าน  ชนิดหนึ่งของทางภาคใต้ มีท่าที    จังหวะการร่ายรำที่สวยงามนิยมละเล่น

ในงานพิธีต่าง ๆ นิยมเล่นทั้งในหมู่ชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิม

 

๙. ทรัพยากรธรรมชาติ
18 มีนาคม 2562

0


๙. ทรัพยากรธรรมชาติ

๙.๑ น้ำ  ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค  เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน  บ่อน้ำตื้น  น้ำประปา  สระเก็บน้ำ  และคลองชลประทาน ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย  ไม่สามารถนำขึ้นมา

ใช้ให้พอเพียงได้ และบางแห่งเค็ม ไม่สามารถใช้ดื่มและอุปโภคได้

๙.๒ ป่าไม้  ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมีป่าไม้บางส่วน

๙.๓ ภูเขา  ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไม่มีภูเขา

๙.๔ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย  ร้านค้า  สถานประกอบการ  ตามลำดับ  และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่  ก็ได้แก่  ดินน้ำ  ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ เนื่องจากว่าพื้นที่บางส่วนเป็นดินเค็ม น้ำใต้ดินก็เค็ม หรือไม่ก็เป็นน้ำกร่อย  ไม่สามารถที่จะนำน้ำจากใต้ดินมาใช้ในการอุปโภค-บริโภคได้ได้ ต้องอาศัยน้ำดิบจากแหล่งอื่น และน้ำฝนน้ำในการเกษตร   ก็ต้องรอฤดูฝน มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ  ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นของประชาชน เอกชน การแก้ไขปัญหา องค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดทำโครงการเพื่อแก้  ปัญหาให้กับประชาชนและเป็นไปตามความต้องการของประชาชน  เช่น  โครงการปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่างๆ  ในพื้นที่ของตนเองและที่สาธารณะรวมทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของเมืองให้ร่มรื่นสวยงาม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน  ฯลฯ 

 

๑๐. อื่นๆ
18 มีนาคม 2562

0


๑๐.๑  สรุปผลการสำรวจข้อมูลพื้นฐานในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ 

                   ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง  ได้ดำเนินโครงการสำรวจข้อมูลพื้นฐานในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลจะรัง  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙     เพื่อนำผลการสำรวจมาพิจารณาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นให้แก่ชุมชน ผลการสำรวจพบว่าประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนั้น ดังนี้

                    

                   การแก้ไขปัญหา

  1. ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนสนใจในสุขภาพมากขึ้น โดยการจัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ให้

     เห็นถึงผลดีของการรักษาสุขภาพ

                   2)  ส่งเสริมการประกอบอาชีพต่างๆ ให้กับประชาชน เพื่อเพิ่มรายได้ แก้ไขปัญหาความยากจนในชุมชน

                            

          ๑๐.2  การแก้ไขปัญหา

 

๑)  ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนสนใจในสุขภาพมากขึ้น โดยการจัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆ  

ให้เห็นถึงผลดีของการรักษาสุขภาพ

                   2)  ส่งเสริมการประกอบอาชีพต่างๆ ให้กับประชาชน เพื่อเพิ่มรายได้ แก้ไขปัญหาความยากจนในชุมชน

3)  สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน  โดยร่วมมือกับทุกภาคส่วน  ไม่ว่าจะเป็น  อำเภอ  ตำรวจ โรงพยาบาล สาธารณสุข ผู้นำชุมชน  ร่วมทำกิจกรรมต่างๆ กับชุมชน  ให้ประชาชนเกิดความไว้วางใจและได้รับความคุ้มครองทางสังคม  มีความเป็นกลาง  รับทราบปัญหาและเร่งแก้ไข

4)  อำนวยความสะดวก ประสานงาน ให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงอาชีพของประชาชนในพื้นที่

                   5)  ร่วมมือกับอำเภอ  เกษตรอำเภอ  ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการใช้ประโยชน์จากดินและน้ำ

ให้เหมาะสมกับพื้นที่ของชุมชน เพื่อพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส

                   6)  ร่วมมือกับสาธารณสุข โรงพยาบาล  โรงเรียน  ส่งเสริม  รณรงค์ ป้องกัน  สุขภาพและอนามัยของประชาชน  ส่งเสริม  จัดกิจกรรมการกีฬาในชุมชน 

                   7)  ส่งเสริม  สนับสนุน  เปิดโอกาสให้เด็กได้รับการศึกษา  จัดกิจกรรมให้ความรู้ต่างๆ                                                  

                                      ************************************